(Prefix) คือหน่วยที่เล็กที่สุดของความหมายในภาษา และ ไม่สามารถอยู่ลำพังได้ เป็นส่วนที่เติมหน้ารากศัพท์ (root or stem) เพื่อเพิ่มหรือเปลี่ยนความหมายของรากศัพท์นั้น โดยจะไม่เปลี่ยนหน้าที่ของรากศัพท์ ดังนั้นคำที่เกิดขึ้นใหม่ส่วนใหญ่จะมีหน้าที่เหมือนเดิมแต่มีความหมายเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนไป เช่น
- เปลี่ยนไปในทางตรงกันข้าม
- เปลี่ยนไปในทางที่ไม่ดี ดีขึ้น แย่ลง
หรืออาจจะเติมหน้ารากศัพท์เพื่อ บอกทัศนคติ ตำแหน่งที่ตั้ง ลำดับที่ จำนวน
- เปลี่ยนไปในทางตรงกันข้าม
- เปลี่ยนไปในทางที่ไม่ดี ดีขึ้น แย่ลง
หรืออาจจะเติมหน้ารากศัพท์เพื่อ บอกทัศนคติ ตำแหน่งที่ตั้ง ลำดับที่ จำนวน
อุปสรรคที่สำคัญมีดังนี้
1. อุปสรรค (Prefixes) ที่มีความหมายในเชิงปฏิเสธ "No" หรือ "Not" เช่น
อุปสรรค ความหมาย ตัวอย่างคำ
un not unfair
in not inconvenient
im not impossible
1. อุปสรรค (Prefixes) ที่มีความหมายในเชิงปฏิเสธ "No" หรือ "Not" เช่น
อุปสรรค ความหมาย ตัวอย่างคำ
un not unfair
in not inconvenient
im not impossible
2. อุปสรรค (Prefixes) สถานที่ ตำแหน่ง (Placement) เช่น
อุปสรรค ความหมาย ตัวอย่างคำ
inter among international
ex out exclude
sub under subtitle
3. อุปสรรค (Prefixes) ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับเวลา (Time) เช่น
อุปสรรค ความหมาย ตัวอย่างคำ
pre first pre-school
pro for, before pro-America
post after post-graduate
4. อุปสรรค (Prefixes) ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับจำนวนเลข (Number) เช่น
อุปสรรค ความหมาย ตัวอย่างคำ
tri three tri angular
uni one unify
อุปสรรค ความหมาย ตัวอย่างคำ
inter among international
ex out exclude
sub under subtitle
3. อุปสรรค (Prefixes) ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับเวลา (Time) เช่น
อุปสรรค ความหมาย ตัวอย่างคำ
pre first pre-school
pro for, before pro-America
post after post-graduate
4. อุปสรรค (Prefixes) ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับจำนวนเลข (Number) เช่น
อุปสรรค ความหมาย ตัวอย่างคำ
tri three tri angular
uni one unify
Example
อุปสรรค(prefix) +
|
รากศัพท์ (Root)
|
= คำใหม่(New word)
|
1. fore - (ก่อน) +
|
tell (บอก)
|
= foretell (ทำนาย)
|
2. miss - (ผิด) +
|
lead (นำ)
|
= mislead (นำไปในทางที่ผิด)
|
3. en (ทำให้) +
|
danger (อันตราย)
|
= endanger (ทำให้เป็นภัย)
|
4. contra (ต่อต้าน,ปะทะ) +
|
dict (พูด)
|
= contradict (ปฏิเสธ)
|
5. over (เหนื่อย) +
|
head (ศีรษะ)
|
= overhead (เหนือศีรษะ)
|
2. Root or Stem
รากศัพท์ (Root or Stem) เป็นส่วนที่แสดงถึงความหมายพื้นฐานหรือความหมายหลัก (Basic Meaning) ของคำ เมื่อเติม Prefix หรือ Suffix เข้าไปแล้วก็จะเป็นคำขึ้นมา โดยที่ความหมายของรากศัพท์ยังคงเดิมไม่เปลี่ยนความหมายไป รากศัพท์ (roots) เป็นส่วนที่เป็นฐานของคำและเป็นตัวหลักเพื่อสร้างคำอื่น ๆ เพิ่มขึ้น และรากศัพท์เป็นส่วนที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้อีก รากศัพท์อาจเกี่ยวข้องกับจำนวนเลข (Numbers) การวัด (Measurement) การเคลื่อนไหว (Motion) การกระทำ (Action) ความรู้สึก (Senses) คุณภาพ (Quality) กฎหมาย (Law) และสังคม (Social) ดังตัวอย่างต่อไปนี้
รากศัพท์ที่เกี่ยวกับจำนวนเลข (Numbers) เช่น
รากศัพท์ ความหมาย
semi one half
mono one
bi two
cent hundred
รากศัพท์ที่เกี่ยวกับการวัด (Measurement) เช่น
รากศัพท์ ความหมาย
graph / graphy a device to write or record
meter a device to measure
รากศัพท์ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (Motion) เช่น
รากศัพท์ ความหมาย
vent to come
รากศัพท์ (Root or Stem) เป็นส่วนที่แสดงถึงความหมายพื้นฐานหรือความหมายหลัก (Basic Meaning) ของคำ เมื่อเติม Prefix หรือ Suffix เข้าไปแล้วก็จะเป็นคำขึ้นมา โดยที่ความหมายของรากศัพท์ยังคงเดิมไม่เปลี่ยนความหมายไป รากศัพท์ (roots) เป็นส่วนที่เป็นฐานของคำและเป็นตัวหลักเพื่อสร้างคำอื่น ๆ เพิ่มขึ้น และรากศัพท์เป็นส่วนที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้อีก รากศัพท์อาจเกี่ยวข้องกับจำนวนเลข (Numbers) การวัด (Measurement) การเคลื่อนไหว (Motion) การกระทำ (Action) ความรู้สึก (Senses) คุณภาพ (Quality) กฎหมาย (Law) และสังคม (Social) ดังตัวอย่างต่อไปนี้
รากศัพท์ที่เกี่ยวกับจำนวนเลข (Numbers) เช่น
รากศัพท์ ความหมาย
semi one half
mono one
bi two
cent hundred
รากศัพท์ที่เกี่ยวกับการวัด (Measurement) เช่น
รากศัพท์ ความหมาย
graph / graphy a device to write or record
meter a device to measure
รากศัพท์ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (Motion) เช่น
รากศัพท์ ความหมาย
vent to come
รากศัพท์ที่เกี่ยวกับการกระทำ (Action) เช่น
รากศัพท์ ความหมาย
stat / stit / sist to stand up
รากศัพท์ที่เกี่ยวกับความรู้สึก (Senses) เช่น
รากศัพท์ ความหมาย
voc / vok voice; to call
รากศัพท์ที่เกี่ยวกับคุณภาพ (Quality) เช่น
รากศัพท์ ความหมาย
clar bright
dur hard; strong
รากศัพท์ที่เกี่ยวกับกฎหมาย (Law) และสังคม (Social) เช่น
รากศัพท์ ความหมาย
ver true; to prove
civ / cit city; government
cert to be sure or certain; approve
ตัวอย่างเช่น
1. contort = con (ร่วมกัน, ด้วยกัน) เป็น prefix + tort (บิด) เป็นรากศัพท์
ดังนั้นความหมายของ contort คือ ทำให้คด, งอ, บิด |
2. torsion = tors (บิด) เป็นรากศัพท์ + ion (การ,ความ) เป็น suffix
ดังนั้นความหมายของ torsion จึงมีความหมายว่า "การบิด" |
3. irremovable = ir (ไม่) เป็น prefix + remove (เคลื่อนย้าย) เป็นรากศัพท์
+ able (สามารถ) เป็น suffix ดังนั้นความหมายของคำ irremovable จึงมีความหมายว่า "เคลื่อนย้ายไม่ได้" |
4. circumlocution = circum (รอบๆ)เป็น prefix + locu (พูด) เป็นรากศัพท์ + tion
(การ , ความ) เป็น suffix ดังนั้นความหมายของ circumlocution จึงมีความหมายว่า "การพูดจาแบบอ้อค้อม" |
5. triarchy = tri (สาม)เป็น prefix + archy (การปกครอง) เป็นรากศัพท์
ดังนั้น triarchy จึงมีความหมายว่า "การปกครองโดยคน 3 คน " |
3. ปัจจัย (Suffix) ปัจจัยคือส่วนที่เติมหลังรากศัพท์มักจะเปลี่ยนความหมายและหน้าที่ของคำด้วย หรือเป็นส่วนหนึ่งของคำที่อยู่ข้างหลังคำหลัก (Base words) หรือรากศัพท์ (Roots) โดยทั่วไป ปัจจัย (Suffixes) ช่วยชี้แนะชนิดของคำ (Parts of speech) เช่นการเติมปัจจัย -er , -ist , -or หลังคำหลัก และทำให้คำหลัก (Base words) เปลี่ยนชนิดของคำเป็นคำนาม
ประเภทของปัจจัย (Suffixes) สรุปได้ดังนี้
1. ปัจจัยที่ทำให้กริยาเป็นคำนาม คือ ปัจจัยที่เติมหลังคำกริยา แล้วเปลี่ยนคำหลักเป็นชนิดของคำนาม เช่น
ปัจจัย ตัวอย่างคำ ความหมาย
ation combine combination
ment payment payment
er paint painter
al propose proposal
2. ปัจจัยที่ทำให้คุณศัพท์เป็นคำนาม คือ ปัจจัยที่เติมหลังคำคุณศัพท์ แล้วเปลี่ยนเป็น
ชนิดของคำนาม เช่น
ปัจจัย ตัวอย่างคำ ความหมาย
ness kind kindness
ce absent absence
ism human humanism
3. ปัจจัยที่ทำให้คำนามเป็นคุณศัพท์ คือ ปัจจัยที่เติมหลังคำนาม แล้วเปลี่ยนเป็นชนิด
ของคำศัพท์ เช่น
ปัจจัย ตัวอย่างคำ ความหมาย
ful success successful
ish selfish selfish
4. ปัจจัยที่ทำให้คำกริยาเป็นคุณศัพท์ คือ ปัจจัยที่เติมหลังคำกริยา แล้วเปลี่ยนเป็นชนิดของคำคุณศัพท์ เช่น
ปัจจัย ตัวอย่างคำ ความหมาย
ing amuse amusing
able remark remarkable
ive creat creative
ประเภทของปัจจัย (Suffixes) สรุปได้ดังนี้
1. ปัจจัยที่ทำให้กริยาเป็นคำนาม คือ ปัจจัยที่เติมหลังคำกริยา แล้วเปลี่ยนคำหลักเป็นชนิดของคำนาม เช่น
ปัจจัย ตัวอย่างคำ ความหมาย
ation combine combination
ment payment payment
er paint painter
al propose proposal
2. ปัจจัยที่ทำให้คุณศัพท์เป็นคำนาม คือ ปัจจัยที่เติมหลังคำคุณศัพท์ แล้วเปลี่ยนเป็น
ชนิดของคำนาม เช่น
ปัจจัย ตัวอย่างคำ ความหมาย
ness kind kindness
ce absent absence
ism human humanism
3. ปัจจัยที่ทำให้คำนามเป็นคุณศัพท์ คือ ปัจจัยที่เติมหลังคำนาม แล้วเปลี่ยนเป็นชนิด
ของคำศัพท์ เช่น
ปัจจัย ตัวอย่างคำ ความหมาย
ful success successful
ish selfish selfish
4. ปัจจัยที่ทำให้คำกริยาเป็นคุณศัพท์ คือ ปัจจัยที่เติมหลังคำกริยา แล้วเปลี่ยนเป็นชนิดของคำคุณศัพท์ เช่น
ปัจจัย ตัวอย่างคำ ความหมาย
ing amuse amusing
able remark remarkable
ive creat creative
1. ปัจจัยที่ทำให้คุณศัพท์เป็นกริยาวิเศษณ์ คือ ปัจจัยที่เติมหลังคำคุณศัพท์ แล้วเปลี่ยนเป็นชนิดของคำกริยาวิเศษณ์ เช่น
ปัจจัย ตัวอย่างคำ ความหมาย
ly private privately
ปัจจัย ตัวอย่างคำ ความหมาย
ly private privately
2. ปัจจัยที่ทำให้คุณศัพท์เป็นกริยา คือ ปัจจัยที่เติมหลังคำคุณศัพท์ แล้วเปลี่ยนเป็นชนิด ของคำกริยา เช่น
ปัจจัย ตัวอย่างคำ ความหมาย
ize civil civilize
en bright brighten
ปัจจัย ตัวอย่างคำ ความหมาย
ize civil civilize
en bright brighten
ตัวอย่างเช่น
คำ(Word ) +
|
ปัจจัย (Suffix)
|
คำใหม่(New word)
|
1.kind (adj) +
|
ness
|
= kindness (noun)
|
2. assist (verb) +
|
ant
|
= assistant (noun)
|
3.danger (noun)+
|
ous
|
= dangerous (adjective)
|
4. use (verb) +
|
ful
|
= useful(adjective)
|
5. instant (noun)+
|
ly
|
= instantly (adverb)
|
un-
unfortunately
uncertainty
unhappy
unfair
unfortunately
uncertainty
unhappy
unfair
im-
immobilize
impossible
non-
non-British visitors
a non-smoker
a non-stop flight
non-payment of taxes
non-appearance
mis-
misfortune
misbehaving
a miscalculation
misunderstood
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น